การจัดการคอลเล็กชันข้อมูลท้องถิ่ นของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ

                 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการจัดการคอลเล็กชันข้อมูลท้อง

ถิ่นของสํานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ2) ปัญหาการจัดการคอลเล็กชัน ข้อมูลท้องถิ่ นของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ และ 3) แนว ทางการพัฒนาการจัดการคอลเล็กชันข้อมูลท้องถิ่นของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนื อ วิธี การวิจัยเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้อํานวยการ และบรรณารักษ์ที่รับผิดชอบงานข้อมูลท้องถิ่นจาก 8 แห่งๆ ละ 2 คน จํานวน 16 คน และตัวแทน ผู้ใช้ข้อมูลท้องถิ่ นจาก 8 แห่งๆ ละ 5 คน จํานวน 40 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการจัดการคอลเล็กชันข้อมูลท้องถิ่นของสํานักวิทยบริ การและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ เป็ นข้อมูลท้องถิ่ นที่มีการดําเนินการอยูในคอลเล็ก  ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด มีการจัดหมวดหมู่ตามระบบทศนิยมดิวอี้ส่วนใหญ่อยู่ในรูปหนังสือที่มี เนื้อหาด้านหัตถกรรมและแพทย์แผนไทย โดยมอบหมายบรรณารักษ์รับผิดชอบ 2) ปัญหาการจัดการคอลเล็ก ชันข้อมูลท้องถิ่นของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ ส่วน ใหญ่ประสบปัญหาการจัดการ คอลเล็กชันข้อมูลท้องถิ่ นด้านการขาดนโยบายและแผนงานที่เป็ นลายลักษณ์ อักษร ด้านความไม่หลากหลายใน การจัดหาข้อมูลท้องถิ่ น และไม่คัดแยกข้อมูลท้องถิ่ นที่ปนกนออกจากคอลเล็กชันทรัพยากรสารสนเทศ 3) แนวทางการพัฒนาการจัดการคอลเล็กชันข้อมูลท้องถิ่ นของสํานักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ ได้แก่ การกาหนดนโยบายและแผนงานของ ํ ข้อมูลท้องถิ่ นให้สอดคล้องกบยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยตามพันธก ั ิจเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น การแยกคอล เล็กชันข้อมูลท้องถิ่นให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ และการสร้างเครื อข่ายความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยกลุ่มภาคเหนือเพื่อพัฒนาการบริการสารสนเทศที่ใช้ข้อมูลท้องถิ่ นร่วมกนผั ่านฐานข้อมูลท้องถิ่น


    อ้างอิง นางสาวสรัลชนา นํ้ าเงินสกุณ (2561) . การจัดการคอลเล็กชันข้อมูลท้องถิ่ นของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ  มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ .  มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การศึกษาความต้องการต่อการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพภายในของบุคลากร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดอำนาจเจริญ

Competence of Future Teachers in the Digital Security Area

การศึกษาแนวทางการจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบการดำเนินงาน สารสนเทศเพื่อการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการ ประถมศึกษาจังหวัดปทุมธานี