บทความ

นำเสนอโปรแกรม Q Info

รูปภาพ
 https://youtu.be/-JxyajnrKQY

คุยเรื่องคณิตศาสตร์

รูปภาพ
 

ทฤษฎี ความหมาย ขอบเขต แนวคิดความสำคัญทางนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

รูปภาพ

Competence of Future Teachers in the Digital Security Area

  Competence of Future Teachers in the Digital Security Area Gallego-Arrufat, María-Jesús ;  Torres-Hernández, Norma ;  Pessoa, Teresa Comunicar: Media Education Research Journal , v27 n61 p53-62 2019 The use of technologies and the Internet poses problems and risks related to digital security. This article presents the results of a study on the evaluation of the digital competence of future teachers in the DigCompEdu European framework. 317 undergraduate students from Spain and Portugal answered a questionnaire with 59 items, validated by experts, in order to assess the level and predominant competence profile in initial training (including knowledge, uses and interactions and attitudinal patterns). The results show that 47% of the participants belong to the profile of teachers at medium digital risk, evidencing habitual practices that involve risks such as sharing information and digital content inappropriately, not using strong passwords, and ignoring concepts such as identity, digi

Surveying Preschool Teachers' Use of Digital Tablets: General and Technology Education Related Findings

       The availability of digital tablets in preschools has increased significantly in recent years. Literature suggests that these tools can enhance students' literacy and collaborative skills. As society becomes increasingly digitized, preschool curriculum reform also emphasises the subjects of technology and science as priority areas of learning. Teachers' knowledge and experiences are of utmost importance in carrying out this mandate. Few studies have explored the use of digital tablets to teach preschool technology and science in Sweden, and there is an urgent need to ascertain the role of digital aids as teaching tools. This survey study seeks to determine how digital tablets are used to support preschool children's learning in general, and with respect to technology education. Preschool educators (n = 327) across Sweden responded to an online survey consisting of 20 closed and 6 open items that probed the use of digital tablets. Survey results revealed a high degree

การศึกษาแนวทางการจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบการดำเนินงาน สารสนเทศเพื่อการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการ ประถมศึกษาจังหวัดปทุมธานี

  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบการดำเนินงานสารสนเทศเพื่อการบริหาร โรงเรียนประถมศึกษา ใน 3 ด้าน ได้แก่ แนวคิดการจัดองค์กรของหน่วยงานสารสนเทศ รูปแบบการจัดองค์การและข้อมูลที่จำเป็นต้องมีในสารสนเทศของโรงเรียน และเพื่อเปรียบเทียบแนวคิดการจัดระบบสารสนเทศจำแนกตามขนาดโรงเรียน           กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาขนาดใหญ่ จำนวน 11 คน ขนาดกลาง 32 คน และขนาดเล็ก จำนวน 2 คน หัวหน้างานทั้ง 6 งานในโรงเรียนขนาดใหญ่ 66 คน ขนาดกลาง 192 คน และจากโรงเรียนขนาดเล็ก 12 คน รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 315 ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 3 ตอนดังนี้ คือ ตอนที่ 1 ถามสถานภาพของผู้ตอบคำถาม แบบสอบถามเป็นแบบเลือกตอบจำนวน 4 ข้อ แบ่งเป็นตอนที่1.1 สำหรับผูบริหารโรงเรียนเป็นผู้ตอบ และตอนที่ 1.2 สำหรับผู้ที่ทำหน้าที่หัวหน้างานเป็นผู้ตอบ ตอนที่ 2 แบ่งคำถามออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ถามเรื่องแนวคิดการจัดระบบสารสนเทศจำนวน 8 ข้อ ส่วนที่ 2 ถามเรื่องรูปแบบการดำเนินงานสารสนเทศ 6 รูปแบบ เป็นแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า 3 ร